โปรโมชันเดือนเกิด เพียงแสดงหลักฐานวันเกิดในเดือนนั้นๆ เมื่อซื้อครบ 500 บาท รับส่วนลดทันที 100 บาท
บทความ
ไขข้อข้องใจทานก็น้อยแต่ทำไมยังอ้วนกับ 4 สาเหตุใกล้ตัวที่คุณคาดไม่ถึง
08.11.2020
ไขข้อข้องใจทานก็น้อยแต่ทำไมยังอ้วนกับ 4 สาเหตุใกล้ตัวที่คุณคาดไม่ถึง


ปัญหาโลกแตกของผู้ที่กำลังอยู่ในช่วงลดน้ำหนักคุมอาหาร ทานน้อยก็แล้ว ลดมื้ออาหารก็แล้ว นับแคลอรีก็แล้ว แต่น้ำหนักก็ยังขึ้นอย่างไม่มีทีท่าว่าจะลงเอาเสียเลย ทำเอาเสียความตั้งใจแถมหมดกำลังใจไปตาม ๆ กัน วันนี้เราจึงนำสาระความรู้ดี ๆ มาฝาก ไขข้อข้องใจทลายความสงสัยว่าทำไมทานน้อยแต่ยังอ้วน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ต่อยอดไปสู่การลดน้ำหนักที่ถูกทาง สร้างหุ่นสวยสุขภาพดีได้ง่าย ๆ เพียงรู้อย่างเข้าใจ  



                 1. ฮอร์โมน ฮอร์โมน คือ ปัจจัยสำคัญประการแรกที่มีส่วนต่อหุ่นสวยสุขภาพดีของคุณ เพราะฮอร์โมนจะเป็นหัวใจหลักในการกำหนดรูปร่างของแต่ละบุคคล อาการอยากอาหารอย่างไร้สาเหตุในวันที่คุณมีอาการเครียด หรือยามบ่ายที่รู้สึกว่าร่างกายขาดหวาน แล้วต้องเป็นงานหาของหวานเข้าปากเพื่อให้คลายความอยากนั้น หรือบางวันที่คุณทานอะไรก็อร่อย รู้สึกสนุก เพลิดเพลินมีความสุขที่ได้ทาน เจริญอาหารเกินไปแบบไม่รู้ตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลมาจากฮอร์โมนทั้งสิ้น และฮอร์โมนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาการเหล่านี้ ก็คือ ฮอร์โมนเลปติน (Leptin Hormone) ที่ทำหน้าที่ควบคุมความอยากอาหาร ผลิตจากเซลล์ไขมัน ซึ่งหากใครมีไขมันส่วนเกินในร่างกายที่เยอะเกินไปอาจก่อให้เกิดภาวะต้านเลปติน แต่ก็สามารถปรับสมดุลให้กับร่างกายได้ด้วยการหันมาทานอาหารที่มีประโยชน์ และหมั่นออกกำลังกายอยู่เสมอ ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol Hormone) ความเครียดที่เกิดจะถูกฮอร์โมนตัวนี้ควบคุมดูแล สังเกตในวันที่ร่างกายเกิดความเครียด หรืออ่อนล้า อาหารอยากทานของหวาน ร่างกายต้องการแป้งและน้ำตาล มาฟื้นฟูร่างกายให้สดชื่นพร้อมต่อสู้กับปัญหา ซึ่งเบื้องหลังการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดนี้ ก็มาจากฮอร์โมนคอร์ติซอลนี้นั่นเอง เท่ากับว่า ถ้าคุณยิ่งเครียด ร่างกายจะยิ่งเรียกหาของหวานตัวการที่ทำให้อ้วนนั่นเองปัญหาโลกแตกของผู้ที่กำลังอยู่ในช่วงลดน้ำหนักคุมอาหาร ทานน้อยก็แล้ว ลดมื้ออาหารก็แล้ว นับแคลอรีก็แล้ว แต่น้ำหนักก็ยังขึ้นอย่างไม่มีทีท่าว่าจะลงเอาเสียเลย ทำเอาเสียความตั้งใจแถมหมดกำลังใจไปตาม ๆ กัน วันนี้เราจึงนำสาระความรู้ดี ๆ มาฝาก ไขข้อข้องใจทลายความสงสัยว่าทำไมทานน้อยแต่ยังอ้วน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ต่อยอดไปสู่การลดน้ำหนักที่ถูกทาง สร้างหุ่นสวยสุขภาพดีได้ง่าย ๆ เพียงรู้อย่างเข้าใจ 1. ฮอร์โมน ฮอร์โมน คือ ปัจจัยสำคัญประการแรกที่มีส่วนต่อหุ่นสวยสุขภาพดีของคุณ เพราะฮอร์โมนจะเป็นหัวใจหลักในการกำหนดรูปร่างของแต่ละบุคคล อาการอยากอาหารอย่างไร้สาเหตุในวันที่คุณมีอาการเครียด หรือยามบ่ายที่รู้สึกว่าร่างกา

  1. ฮอร์โมน 


                  ฮอร์โมน คือ ปัจจัยสำคัญประการแรกที่มีส่วนต่อหุ่นสวยสุขภาพดีของคุณ เพราะฮอร์โมนจะเป็นหัวใจหลักในการกำหนดรูปร่างของแต่ละบุคคล อาการอยากอาหารอย่างไร้สาเหตุในวันที่คุณมีอาการเครียด หรือยามบ่ายที่รู้สึกว่าร่างกายขาดหวาน แล้วต้องเป็นงานหาของหวานเข้าปากเพื่อให้คลายความอยากนั้น หรือบางวันที่คุณทานอะไรก็อร่อย รู้สึกสนุก เพลิดเพลินมีความสุขที่ได้ทาน เจริญอาหารเกินไปแบบไม่รู้ตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลมาจากฮอร์โมนทั้งสิ้น และฮอร์โมนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาการเหล่านี้ ก็คือ


ฮอร์โมนเลปติน (Leptin Hormone) ที่ทำหน้าที่ควบคุมความอยากอาหาร ผลิตจากเซลล์ไขมัน ซึ่งหากใครมีไขมันส่วนเกินในร่างกายที่เยอะเกินไปอาจก่อให้เกิดภาวะต้านเลปติน แต่ก็สามารถปรับสมดุลให้กับร่างกายได้ด้วยการหันมาทานอาหารที่มีประโยชน์ และหมั่นออกกำลังกายอยู่เสมอ


ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol Hormone) ความเครียดที่เกิดจะถูกฮอร์โมนตัวนี้ควบคุมดูแล สังเกตในวันที่ร่างกายเกิดความเครียด หรืออ่อนล้า อาหารอยากทานของหวาน ร่างกายต้องการแป้งและน้ำตาล มาฟื้นฟูร่างกายให้สดชื่นพร้อมต่อสู้กับปัญหา ซึ่งเบื้องหลังการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดนี้ ก็มาจากฮอร์โมนคอร์ติซอลนี้นั่นเอง เท่ากับว่า ถ้าคุณยิ่งเครียด ร่างกายจะยิ่งเรียกหาของหวานตัวการที่ทำให้อ้วนนั่นเองปัญหาโลกแตกของผู้ที่กำลังอยู่ในช่วงลดน้ำหนักคุมอาหาร ทานน้อยก็แล้ว ลดมื้ออาหารก็แล้ว นับแคลอรีก็แล้ว แต่น้ำหนักก็ยังขึ้นอย่างไม่มีทีท่าว่าจะลงเอาเสียเลย ทำเอาเสียความตั้งใจแถมหมดกำลังใจไปตาม ๆ กัน วันนี้เราจึงนำสาระความรู้ดี ๆ มาฝาก ไขข้อข้องใจทลายความสงสัยว่าทำไมทานน้อยแต่ยังอ้วน เพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ต่อยอดไปสู่การลดน้ำหนักที่ถูกทาง สร้างหุ่นสวยสุขภาพดีได้ง่าย ๆ เพียงรู้อย่างเข้าใจ  










                  1. ฮอร์โมน 




                  ฮอร์โมน คือ ปัจจัยสำคัญประการแรกที่มีส่วนต่อหุ่นสวยสุขภาพดีของคุณ เพราะฮอร์โมนจะเป็นหัวใจหลักในการกำหนดรูปร่างของแต่ละบุคคล อาการอยากอาหารอย่างไร้สาเหตุในวันที่คุณมีอาการเครียด หรือยามบ่ายที่รู้สึกว่าร่างกา


ยขาดหวาน แล้วต้องเป็นงานหาของหวานเข้าปากเพื่อให้คลายความอยากนั้น หรือบางวันที่คุณทานอะไรก็อร่อย รู้สึกสนุก เพลิดเพลินมีความสุขที่ได้ทาน เจริญอาหารเกินไปแบบไม่รู้ตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนมีผลมาจากฮอร์โมนทั้งสิ้น และฮอร์โมนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอาการเหล่านี้ ก็คือ


ฮอร์โมนเลปติน (Leptin Hormone) ที่ทำหน้าที่ควบคุมความอยากอาหาร ผลิตจากเซลล์ไขมัน ซึ่งหากใครมีไขมันส่วนเกินในร่างกายที่เยอะเกินไปอาจก่อให้เกิดภาวะต้านเลปติน แต่ก็สามารถปรับสมดุลให้กับร่างกายได้ด้วยการหันมาทานอาหารที่มีประโยชน์ และหมั่นออกกำลังกายอยู่เสมอ


ฮอร์โมนคอร์ติซอล (Cortisol Hormone) ความเครียดที่เกิดจะถูกฮอร์โมนตัวนี้ควบคุมดูแล สังเกตในวันที่ร่างกายเกิดความเครียด หรืออ่อนล้า อาหารอยากทานของหวาน ร่างกายต้องการแป้งและน้ำตาล มาฟื้นฟูร่างกายให้สดชื่นพร้อมต่อสู้กับปัญหา ซึ่งเบื้องหลังการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดนี้ ก็มาจากฮอร์โมนคอร์ติซอลนี้นั่นเอง เท่ากับว่า ถ้าคุณยิ่งเครียด ร่างกายจะยิ่งเรียกหาของหวานตัวการที่ทำให้อ้วนนั่นเอง


                   2. พันธุกรรม


                สิ่งที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น จากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน ซึ่งไม่เพียงแค่ลักษณะรูปร่างหน้าตาเท่านั้น ระบบการทำงานภายในร่างกายก็ยังถ่ายทอดตามมาอีกด้วย อาทิ พ่อแม่ที่มีกลไกการทำงานการเผาผลาญของร่างกายช้า ซึ่งส่งผลให้ร่างกายเผาผลาญอาหารออกจากร่างกายได้ไม่ค่อยดีนัก จึงทำให้ถึงแม้ทานน้อยแต่ก็ยังอ้วนได้ ซึ่งกลไกการทำงานของร่างกายเหล่านี้ก็จะถูกถ่ายทอดมายังลูกของคุณด้วย ดังนั้น ใครที่มีพันธุกรรมเช่นนี้ และไม่อยากมีหุ่นหมีรูปร่างอ้วนท้วนเหมือนสมาชิกในบ้าน ก็ควรหมั่นดูแลร่างกายตัวเองให้ดี ทั้งเลือกทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และออกกำลังกายควบคู่กันไปด้วย


                3. โซเดียมแฝงในอาหาร


                  โซเดียมที่แฝงอยู่ในอาหารต่าง ๆ รอบตัว ไม่ว่าจะเป็นอาหารฟาสต์ฟู้ด ของหมักดอง น้ำซุปสุกี้หรือก๋วยเตี๋ยว หรืออาหารแช่แข็งตามร้านสะดวกซื้อล้วนแต่อุดมไปด้วยโซเดียมด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่งหากร่างกายได้รับโซเดียมมากเกินไป จะส่งผลให้ร่างกายมีอาการบวมน้ำ ทานน้อยหรือออกกำลังกายอย่างไรก็ไม่สามารถมีรูปร่างที่ผอมได้


                  4. การใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม


                  อาการร่างพัง ผลพวงจากการดำเนินชีวิตอย่างไม่ใส่ใจดูแลตัวเอง ทำงานหนัก นอนน้อยเป็นประจำ หรือแม้แต่ทานอาหารไม่เป็นเวลา อดอาหาร ทานน้อยแบบไม่ถูกสุขลักษณะ และความเข้าใจเรื่องการควบคุมอาหารอย่างถูกต้อง ส่งผลให้ร่างกายทำงานผิดปกติ ระบบรวน ฮอร์โมนเปลี่ยน เผาผลาญได้ช้า เรียกได้ว่าเข้าสู่อาการร่างพัง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ส่งผลโดยตรงต่อน้ำหนักของคุณ สาเหตุก็มาจากเจ้าร่างกายเข้าสู่ภาวะอ่อนแอ ทำให้เจ้าฮอร์โมนคอร์ติซอลถูกเรียกใช้งานมากกว่าปกตินั่นเอง


                  


                มาถึงตรงนี้คงพอไขข้อข้องใจได้แล้วว่า ทานก็น้อยแต่ทำไมยังอ้วนอยู่ดี เพราะปัจจัยเรื่องน้ำหนักไม่ได้ขึ้นอยู่กับการคุมอาหารเพียงอย่างเดียว ยังมีปัจจัยแวดล้อมเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างหุ่นสวยสุขภาพดีให้กับคุณเช่นกัน รู้แบบนี้แล้วหันมาสังเกตตัวเอง และดูแลตัวเองอย่างถูกวิธีในแบบของคุณ เพราะสุขภาพที่ดีหาซื้อไม่ได้ ความใส่ใจเท่านั้นที่จะทำให้คุณกลับมามีรูปร่างที่ดีดังเดิม


 


 

                   2. พันธุกรรม

                สิ่งที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น จากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน ซึ่งไม่เพียงแค่ลักษณะรูปร่างหน้าตาเท่านั้น ระบบการทำงานภายในร่างกายก็ยังถ่ายทอดตามมาอีกด้วย อาทิ พ่อแม่ที่มีกลไกการทำงานการเผาผลาญของร่างกายช้า ซึ่งส่งผลให้ร่างกายเผาผลาญอาหารออกจากร่างกายได้ไม่ค่อยดีนัก จึงทำให้ถึงแม้ทานน้อยแต่ก็ยังอ้วนได้ ซึ่งกลไกการทำงานของร่างกายเหล่านี้ก็จะถูกถ่ายทอดมายังลูกของคุณด้วย ดังนั้น ใครที่มีพันธุกรรมเช่นนี้ และไม่อยากมีหุ่นหมีรูปร่างอ้วนท้วนเหมือนสมาชิกในบ้าน ก็ควรหมั่นดูแลร่างกายตัวเองให้ดี ทั้งเลือกทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และออกกำลังกายควบคู่กันไปด้วย

                3. โซเดียมแฝงในอาหาร

                  โซเดียมที่แฝงอยู่ในอาหารต่าง ๆ รอบตัว ไม่ว่าจะเป็นอาหารฟาสต์ฟู้ด ของหมักดอง น้ำซุปสุกี้หรือก๋วยเตี๋ยว หรืออาหารแช่แข็งตามร้านสะดวกซื้อล้วนแต่อุดมไปด้วยโซเดียมด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่งหากร่างกายได้รับโซเดียมมากเกินไป จะส่งผลให้ร่างกายมีอาการบวมน้ำ ทานน้อยหรือออกกำลังกายอย่างไรก็ไม่สามารถมีรูปร่างที่ผอมได้

                  4. การใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม

                  อาการร่างพัง ผลพวงจากการดำเนินชีวิตอย่างไม่ใส่ใจดูแลตัวเอง ทำงานหนัก นอนน้อยเป็นประจำ หรือแม้แต่ทานอาหารไม่เป็นเวลา อดอาหาร ทานน้อยแบบไม่ถูกสุขลักษณะ และความเข้าใจเรื่องการควบคุมอาหารอย่างถูกต้อง ส่งผลให้ร่างกายทำงานผิดปกติ ระบบรวน ฮอร์โมนเปลี่ยน เผาผลาญได้ช้า เรียกได้ว่าเข้าสู่อาการร่างพัง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ส่งผลโดยตรงต่อน้ำหนักของคุณ สาเหตุก็มาจากเจ้าร่างกายเข้าสู่ภาวะอ่อนแอ ทำให้เจ้าฮอร์โมนคอร์ติซอลถูกเรียกใช้งานมากกว่าปกตินั่นเอง

                  

                มาถึงตรงนี้คงพอไขข้อข้องใจได้แล้วว่า ทานก็น้อยแต่ทำไมยังอ้วนอยู่ดี เพราะปัจจัยเรื่องน้ำหนักไม่ได้ขึ้นอยู่กับการคุมอาหารเพียงอย่างเดียว ยังมีปัจจัยแวดล้อมเหล่านี้เป็นส่วนประกอบสำคัญในการสร้างหุ่นสวยสุขภาพดีให้กับคุณเช่นกัน รู้แบบนี้แล้วหันมาสังเกตตัวเอง และดูแลตัวเองอย่างถูกวิธีในแบบของคุณ เพราะสุขภาพที่ดีหาซื้อไม่ได้ ความใส่ใจเท่านั้นที่จะทำให้คุณกลับมามีรูปร่างที่ดีดังเดิม

 

 

Recent Blog